ทำงานกับคนขี้เกียจ

แทบทุกคนต่างเคยทำงานกับ
คนที่มือไม่พายแต่เอาเท้าราน้ำ(คนขึ้เกียจ)
และมักจะไม่รู้ว่าจะจัดการกับคนแบบนี้อย่างไร
การไปรายงานกับเจ้านายโดยตรง 
หรือเพียงแต่สนใจธุรกิจของตนเอง

ถ้าคนขี้เกียจไม่มีผลกระทบต่องานแล้ว
อย่าเพิ่งเข้าไปแทรกแซง/จัดการ
แต่ถ้างานมีปัญหาขึ้นมา 
นี่คือสิ่งที่ต้องทำ

ลองสวมรองเท้าของเขาดูบ้าง
หากรู้ต้นตอของพฤติกรรมของคนขี้เกียจ
อาจไม่ได้หมายความเสมอไปว่า
คนคนนั้นเป็นคนขี้เกียจโดยสันดาน
อาจหมายถึง คนนี้กำลังมีปัญหาที่บ้าน
หรือกำลังดิ้นรนต่อสู้อย่างหนัก
เพื่อปรับตัวให้เข้ากับข้อกำหนด/งานใหม่

แทนที่จะปะทะกับคนขี้เกียจโดยตรง
ให้มีการพูดจากันแทนการกล่าวหาโทษ
โดยยินดีรับฟังปัญหาเพื่อหาทางแก้ไข

หาข้อเท็จจริง
ยกตัวอย่างเฉพาะของลักษณะงานที่ทำ
อธิบายผลกระทบที่มีต่อคุณและคนอื่น ๆ
ให้การสนทนานี้มีผลคืบหน้าในเรื่องนี้
(โดยคนขี้เกียจต้องมีการพัฒนา/ปรับปรุงตนเอง)

ให้มีความยืดหยุ่น
บางทีการคิดว่า รู้วิธีดีที่สุดในการแก้ไขปัญหา 
แต่ไม่สามารถใช้งานกับแนวทางแก้ไขที่วางไว้ล่วงหน้า 
ทางเลือกที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นคือ
แนะนำให้คนที่มีปัญหา/คนขี้เกียจ
ให้ลองพิจารณาทางเลือกอื่นด้วยตนเอง

The Management Tip of the Day from Harvard Business Review



July 11, 2014

How to Work with a Slacker


Everyone has worked with someone who doesn't pull his weight. You often don't know whether to confront the person, speak to your boss, or mind your own business. If someone's slacking is not affecting your work, don’t intervene. But if your job is suffering, here's what to do:
  • Put yourself in his shoes. Do you know the root causes of his behavior? Slacking doesn't always mean laziness — it could mean difficulty at home or a struggle to understand a new assignment.
  • Converse instead of confront. Speak up, but don't be accusatory. Approach the conversation with a genuine willingness to solve the problem.
  • Stick to the facts. Raise specific examples of the behavior and explain its impact on you and others. Keep the conversation forward-looking.
  • Be flexible. You might think you know the best way to fix the problem, but you can’t fixate on pre-set solutions. It's more effective to guide the person in exploring different options.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด