ผลักดันเรื่องสุขภาพด้วยหลักเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม

โปรแกรมสุขภาพในบริษัทต่าง ๆ  
มักจะพึ่งพาเรื่องการศึกษาวิจัย
เพื่อส่งเสริมให้คนลดน้ำหนัก หยุดสูบบุหรี่ 
หรือเป้าหมายเพื่อสุขภาพร่างกายพนักงาน
แต่การทำในเรื่องที่ทุกคนต่างรู้ดีอยู่แล้ว
มักจะไม่ได้ผลแต่อย่างใดเลย

แต่การใช้วิธีการทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
จะสามารถช่วยให้คนเราเอาชนะอุปสรรค
ทางด้านจิตใจที่ขัดขวางกับเป้าหมายคนเราได้ 

สร้างแรงจูงใจที่มีอิทธิพลเพิ่มมากขึ้น 
ให้แยกเช็คหรือบัตรของขวัญเพื่อมอบรางวัล 
เช่น เงินสด สำหรับผลการประเมินสุขภาพ
ที่บวกเพิ่มในค่าจ้างปกติที่จ่าย

รางวัลความสำเร็จของกลุ่ม 
แทนที่ให้รางวัลคนที่เดินเพิ่มขึ้นกว่าเดิม
แต่ให้รวมกลุ่มทีมที่แต่ละคนจะต้องร่วมกันเดิน
เพื่อทำให้ทีมประสบความสำเร็จ
จะต้องขึ้นอยู่กับสมาชิกแต่ละคน
ต้องเดินต่ำสุดวันละ 7,000 ก้าวต่อวัน

ทำกิจกรรมซ้ำ ๆ 
เช่น การทำสมาธิเหมือนการเล่นกีฬา
คนเราสามารถมีส่วนร่วมสม่ำเสมอ
ถ้าได้ร่วมทำสมาธิในวันก่อน
การทำซ้ำทำบ่อย ๆ ทำเสมอ ๆ
จะเป็นการตอกย้ำประสบการณ์
และความทรงจำในเชิงบวก
ทำให้มีประสิทธิภาพเป็นอย่างมาก


The Management Tip of the Day from Harvard Business Review

February 25, 2015

Weave Behavioral Economics into Your Wellness Program

Company wellness programs often rely on education to encourage people to lose weight, stop smoking, or manage health conditions. But educating people about what they already know but don’t do can only go so far. Instead, try behavioral economics approaches, which can help us overcome the psychological barriers that undercut our goals. For example:
  • Make incentives easier to see and more influential. Use separate checks or gift cards to deliver rewards (e.g., cash for completing a health assessment) that would normally be buried in a pay stub.
  • Reward group achievements. Instead of encouraging people to walk more, create teams whose success depends on each member walking a minimum amount (say, 7,000 steps a day).
  • Turn repetitive activities, like taking medication, into a game: People can participate only if they took their medication the previous day. Such an approach effectively pairs the routine with an engaging and emotionally positive experience.

 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด