นำเสนอผลงานอย่าตื่นเวที

การพูดในที่สาธารณะมักเป็นเรื่องสำคัญ
ในการทำให้คนหลายคนตื่นกลัว/ตื่นเวที
แต่หลัก ๆ คือ ผู้ชมผู้ฟังต้องการอยากรู้อยากเห็น
ในเรื่องที่คุณกำลังนำเสนอหรือพูดให้ฟัง
ถ้าใช้งานนำเสนอเป็นโอกาสในการบอกเล่า
และโน้มน้าวใจผู้ชมผู้ฟัง
(แต่อย่าเที่ยวโม้ถึงความเก่งกาจตนเอง)
คุณจะชนะใจพวกเขาได้มากกว่า

คงจำได้สัญชาติญาณทางร่างกายที่ตื่นเวที
หัวใจเต้นแรง ฝ่ามือเปียกชื้น ลำไส้ปั่นป่วน
ไม่น้อยไปกว่าการที่ผู้ชมจ้องมองอยู่

แน่นอนคุณไม่ได้เลวร้ายอย่างที่คิด
ถ้าไม่เริ่มต้นด้วยทัศนคติเชิงลบ
ผมกำลังว้าวุ่น น่ากลัวในการพูดครั้งนี้

ให้ต่อต้าน/ขจัดทัศนคตินี้ทันที
บอกกับตนเองว่า  ผมรู้สึกดีมาก
ผมหลงใหลกับการพูดเรื่องนี้
ผมมีเวลาพูดคุยอย่างเพียงพอมากมาย

แม้ว่าอาจรู้สึกดูงี่เง่า
ที่พูดกับตนเองด้วยวิธีการนี้ 
แต่การพูดทัศนคติเชิงบวกกับตนเอง
ในท้ายสุดแล้วจะช่วยให้บันทึกย่อที่จะพูด 
ได้พูดออกจากหัวใจ/ความจริงใจของคนพูด
จะช่วยให้น้ำเสียงไม่เหมือนกับ
การซักซ้อมหรือท่องมาพูดคุย

The Management Tip of the Day from Harvard Business Review

February 19, 2015

Don't Let Stage Fright Derail Your Presentation

Public speaking often tops people's list of fears. But most often, the audience is rooting for you and wants to hear what you have to say. If you use the presentation as an opportunity to teach and persuade (not as a way to show off your expertise), you'll win them over. Remember that the physiological signs of stage fright – racing heart, clammy palms, churning stomach – are far less visible to the audience. You probably don't look as bad as you feel. And if negativity starts clouding your thoughts – I’m a fraud, this talk is going horribly – counteract it. Tell yourself: I’m going to be fine. I am passionate about this topic. I've given this talk plenty of times. It might feel silly to speak to yourself this way, but positive self-talk really helps. Finally, ease up on your script a bit and speak from the heart. It helps to not sound too rehearsed.

 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด