บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2015

เดินรุกหน้าหลังได้รับบทบาทใหม่

การได้รับเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งหมายถึงรางวัลตอบแทนที่มากกว่าเดิม ได้รับการยอมรับเชื่อถือมากขึ้น และได้รับเป็นเสาหลักของกิจการ แต่การไปรับตำแหน่งที่ใหญ่กว่าเป็นการท้าทายเช่นกัน โดยทั่วไปยิ่งรับบทบาทที่มีความเหนือกว่า โครงสร้างการทำงานที่จะรับรู้ในเรื่องต่าง ๆ ยิ่งน้อยลง ทำให้รู้สึกว่าเริ่มจะงุนงงสับสน เรื่องสำคัญคือคุณต้องมีความรับผิดชอบด้วยตนเอง แต่ไม่ได้หมายความว่าคุณไม่สามารถขอความช่วยเหลือ หรือได้รับการสนับสนุนแต่อย่างใด แต่คุณต้องเตรียมพร้อมก้าวหน้าที่จะรุดหน้า ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ ด้วยการตอบคำถามดังต่อไปนี้ เรื่องที่ ต้อง ทำ ใน สัปดาห์ แรก   30  วัน แรก  หรือ ไตรมาส แรก หรือไม่ ใครที่ผมจำเป็นต้องไปพบ และวิธีที่ดีที่สุดที่จะติดต่อกับเขาได้ เรื่องอะไรที่ผมไม่รู้  และเรื่องอะไรที่ผมควรจะรู้ ถ้าผมต้องตกอยู่ในสภาวะลำบาก  ผมจะขอความช่วยเหลือหรือคำแนะนำอย่างไรได้บ้าง The Management Tip of the Day from Harvard Business Review March 31, 2015 Take Charge of Your New Role After a Promotion Moving up the ladder in an organization us

ก้าวเล็ก ๆ ก้าวสู่เป้าหมายการทำงาน

การตั้ง เป้าหมาย การ ทำงาน เป็น เรื่องง่าย แต่การ ทำ ให้ เป็นผลสำเร็จเป็นอีก เรื่องหนึ่ง ถ้า คุณ ต้อง การ แก้ปัญหา ที่ ติดขัด/ขัดข้อง  คุณ ต้องดำเนินการ : ยอมรับ อย่างเปิดเผย :   บันทึก เป้าหมายเป็นลายลักษณ์อักษร แล้วแบ่งปันแจ้งให้ กับ ผู้จัดการ    เพื่อน   แจ้งเรื่องนี้ โดยตรงให้กับ เพื่อน และ ครอบครัว ของคุณ สร้าง แผน การดำเนินการ :   คิด กลวิธีทีละขั้นทีละตอน ถ้า เป้าหมาย ของคุณ คือ   การ พัฒนา ความ สัมพันธ์ ที่ เชื่อถือ มากขึ้น ด้วยการแจ้ง ผลงาน โดยตรงของคุณ นำมาพูดคุยช่วงกินข้าวกลางวันเป็นการภายใน แล้วร่วมมือกับ พวกเขาให้ใกล้ชิดเป็นกันเองมากขึ้น ขอรับการ สนับสนุน :   เพื่อนร่วมงาน  พี่เลี้ยง คนอื่น ๆ ที่ให้ความสำคัญ หรือ โค้ช มืออาชีพ สามารถผลักดันและเป็นที่ปรึกษา ได้ ตั้งเป้าหมาย เหตุการณ์สำคัญ :   วัน เวลา ผ่าน ไป   แรงจูงใจจะลดน้อยถอยลง จำเป็นต้องมี สัญญาณเตือนมากกว่า ปกติ เพื่อ เสริมสร้าง สิ่ง ที่ทำ ไปแล้วหรือจะทำต่อไป    เช่น เสียงเตือน ใน โทรศัพท์มือถือ หรือ  งานประชุม ใน ปฏิทินงาน สำหรับการ คิด เกี่ยวกับ เป้าหมายคืออะไร และเส้นทางอาชีพของค

ก่อนควบรวมกิจการให้ดูวัฒนธรรมองค์กรด้วย

เมื่อ มัน มา ถึงการควบรวมกิจการเข้าด้วยกัน ส่วนใหญ่มักจะตรวจสอบฐานะกิจการด้านการเงิน แต่ภายหลังเมื่อเริ่มลงมือบริหารงานกับต้องพบกับเรื่องน่าตกใจ เกี่ยวกับระดับความแตกต่างกันอย่างมากของพนักงานทั้งสองบริษัท เพราะทันทีที่ต้องผสาน/ผนวกองค์การเป็นหนึ่งเดียวนั้น ความขัดแย้งด้าน วัฒนธรรม เป็น หนึ่ง ใน ความท้าทาย ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ของการควบรวมกิจการ ดังนั้น คุณ ต้องผสมผสานวัฒนธรรมเข้าไปในกระบวนการ ตรวจสอบฐานะกิจการในช่วงเริ่มต้นการดำเนินการ ประเมิน จุดแข็งบริษัทที่จะถูกควบรวม ระหว่างทั้งสองบริษัทเก่ากับบริษัทใหม่ที่จะควบรวม  แล้วเปรียบเทียบความเหมือนความแตกต่าง อะไรบ้างที่ร่วมกัน/ทับซ้อนกันได้อย่างไม่มีปัญหา อะไรบ้างทีไม่สามารถร่วมกันได้เลย เข้าใจพลวัตรของวัฒนธรรมบริษัทที่จะถูกควบรวม จะทำอย่างไรได้บ้าง  จะพัฒนาความเก่งกาจได้อย่างไร จะจูงใจอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ วิธีการตัดสินใจในการบริหารเป็นแบบไหน วิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อทำความเข้าใจเรื่องที่ท้าท้าย การเมือง กฎระเบียบข้อบังคับ สหภาพ และชุมชนกลุ่มก๊วนที่จะปลุกระดมการควบรวม The Management Tip of the Day f

โฆษณาผลงานตนเองด้วยตัวอย่าง

หลาย คน อายที่จะโฆษณาผลงานที่ดีของตนเอง เพราะไม่ต้องการเหมือนกับคนโง่โม้เรื่องความเก่งตนเอง มันอาจจะ ไม่ ได้ เป็นเช่นนั้นก็ได้ ให้ ลองนำเสนอความเชี่ยวชาญ ความชำนาญการของตนเอง ด้วยการบอกเล่าเรื่องราวไม่ใช่ด้วยคำพูดทั่ว ๆ ไป เช่น ผมเป็นนักลงทุนระยะสั้นที่เก่งกาจมาก ถ้อยคำวลีนี้เหมือนกับการโอ้อวดขี้โม้ผลงานตนเอง ให้ลองแบ่งปัน เรื่องราวที่ น่าสนใจด้วยการหว่านเมล็ด/ล่อเหยื่อ ให้คนอื่น ๆ ต้องคาดเดาเรื่อง ทักษะ ของคุณ  โดย ไม่ ต้อง ทำให้ ชัดเจน   อย่าละโมภโลภมากบอกแบบเน้น ๆ เรื่องเด่น ๆ  ถ้า คุณอยู่ ใน งานเลี้ยง  และกำลังเริ่มต้น พูดคุยเรื่องนี้ คุณควรตั้งใจที่จะเริ่มเล่าเรื่องราวต่อไป โดยการพูดให้กระชับและจบอย่างเข้าใจในเวลาสั้น แต่ถ้าคุณกำลังหันเหไปที่เรื่องที่คุณต้องการบอกความเก่งของคุณ ผู้ฟังอาจจะปิดใจหรือไม่สนใจต่อไป เพราะการโฆษณาตนเองให้ผู้อื่นฟังนั้น ควรทำด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตนอย่างมาก ต้องระมัดระวังเรื่องนี้ค่อนข้างอ่อนไหวมาก เพราะความจริงการที่คนเราประสบความสำเร็จ ในบางเรื่องบางราวที่สำคัญอย่างมากหรือมีส่วนได้เสียมาก อาจจะทำให้คนอื่น สึก อิจฉา หรือ ไม่พอใจได้ พ

บริหารจัดการเจ้านายชอบจู้จี้จุกจุก

การทำงาน ภายใต้ การบริหารของเจ้านายที่ชอบจู้จี้จุกจิก ไม่ใช่เรื่องแปลกแต่อย่างไร เพราะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสิ่งรอบตัวได้ง่าย ๆ ด้วยการพูดคุยสนทนากันเพียงแค่ครั้งสองครั้ง แต่ถ้าเริ่มพูดถึง เป้าหมาย ในอนาคต   จะช่วยได้ เป็นการช่วยเหลือเจ้านายทางอ้อม จะทำให้มาตรวจสอบ/จู้จี้จุกจิกคุณ น้อยลง    การ มุ่ง เน้น อนาคต ของ จะ ช่วยทั้ง คุณ และ เจ้านาย ต่างมีความสนใจในเรื่องผลผลิตที่มากขึ้นในตอนนี้ บทสรุปของการประชุมร่วมกันตัวต่อตัว เรื่องเป้าหมาย ในอนาคตจะต้องพูดถึงบทบาทของคุณในภายหน้า และทรัพยากรอื่น ๆ ที่จะสนับสนุนการทำงาน/แผนกของคุณ ยกตัวอย่างโครงการที่คุณอยากจะทำต่อไป และบทบาทในอนาคตที่คุณวาดหวังไว้ว่าเป็นอย่างไร ขอให้เจ้านายช่วยเหลือในการเสริมทักษะในบางเรื่อง หรือวางแผนร่วมกันในบางเรื่องที่จำเป็น อย่าพูดหรือพร่ำบ่นถึงเรื่องราวที่ผ่านมาในอดีต แต่บอกให้เจ้านายรู้ว่าคุณชื่นชอบคำแนะนำ/แนวทางทำงาน แต่คุณอยากจะโบยบินด้วยปีกของตนเองบ้าง (ทำงานขับเคลื่อนด้วยตนเองอย่างเสรี) The Management Tip of the Day from Harvard Business Review March 25, 2015 Put a Micromanager at E

ใช้เวลาให้มากขึ้นกับแนวคิดใหม่

ถ้า คุณ ต้อง วิธี การ แปลงให้ภายในองค์กรมี วัฒนธรรมที่มี นวัตกรรม ให้ ได้อย่างรวดเร็ว   ถามผู้ คนให้ ใช้ เวลาเพียงเล็ก น้อย ในการ ระบุ พัฒนาแนว ความคิด ที่ ดี และให้ เวลาเพิ่มขึ้น ใน การ ทดสอบ สมมุติฐาน สมมติฐาน ทางธุรกิจ คือ   ความเชื่อที่ทดสอบได้ เกี่ยวกับ การ สร้างมูล ค่า ในอนาคต   มีข้อสังเกตคือ สหสัมพันธ์ที่เป็นไปได้ ระหว่างผลการดำเนินการกับ ผลกระทบในการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ สมมติฐานที่ทดสอบได้ ใน ขั้น อภิปรายผล ดำเนินการ เพิ่มเติม เพราะต้องความรับผิดชอบที่ต้องสร้างขึ้นมา ผลการทดสอบ จะ ผ่าน  หรือ ไม่ผ่าน คุณจะ ได้ เรียนรู้ ด้วย วิธีการ ใด   แต่เรื่อง ที่ต้อง รับผิดชอบ กับแนว ความ คิดดีจริงหรือไม่ ความจริง ที่ ว่า  ผู้คน จำนวนมาก คิดว่า  เป็น ความ คิด ที่ ดี หรือไม่   นั่นคือ  การ ประกวดความ นิยม   สมมติฐานที่ทดสอบได้ ต้อง วัดได้ อย่างชัดเจน   เข้าใจวิธี การ วัด   มี การ ตกลงเห็นพร้องร่วมกัน มีการเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร และ สามารถแบ่งปัน/ใช้ร่วมกัน   นั่นคือแนวความคิดที่ดี ที่ แปลง เป็น มูลค่า ที่ แท้จริงได้ The Management Tip of the Day from Harvar

สัมพันธ์ภาพกับผู้จัดการบนเครือข่าย

การทำงานบนเครือข่าย ต้อง ใช้ วิธีการ เชิงรุก ใน การ สร้าง ความสัมพันธ์ กับ เจ้านาย ด้วยการ พัฒนา ความไว้วางใจ    ต้องมั่นใจในเรื่องการ สื่อสาร ที่ ชัดเจน   สั่งสม ความรับผิดชอบให้ปรากฎ : ตั้ง กฎใน การ สื่อสาร คน ใน ทีม เสมือนจริง/ทีมงานบนเครือข่าย มักจะมีการติดต่อสื่อสารกันมากกว่าปกติ เพราะคิดว่าเป็นการแก้ไขปัญหาระยะทางห่างไกลกันมาก แต่ละคน แต่การทำแบบ นี้ จะ นำไป สู่ส ภาวะ ข้อมูล ท่วมท้น   ให้ตั้งกฎเกณฑ์เวลาที่เหมาะสมในการสื่อสาร ด้วยการโทรศัพท์หากันทุกวันหรือทุก รายสัปดาห์ สร้าง มนุษยสัมพันธ์ที่ น่าเชื่อถือ ผูกพัน ทีม เสมือนจริง/ทีมบนเครือข่ายเข้า ร่วมกัน   ส่ง อี เมล์ ให้ เจ้านายให้ทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ตัวตนของคุณ ว่า คุณ เป็น ใคร   มีความเป็นมาอย่างไร แสดงบทบาทความ เชี่ยวชาญส่วนตัวเป็นประจำ ก่อนเริ่มต้นวาระการประชุมด้วยการ ใช้ เวลาเพียง 30  วินาที หรือแบ่งปันความรู้ร่วมกันว่า อะไรจะ เกิดขึ้นบ้าง อะไรที่เกี่ยวกับตัวคุณและเส้นทางอาชีพของคุณเอง รวมทั้งเหตุการณ์ที่มีความสุขและเรื่องที่ท้าทาย แสดงความกระตือรือร่วมกับ เจ้านาย มีความ เอื้ออาทรแสดงออกทาง อารม

ให้พนักงานอาวุโสแบ่งปันความรู้

บริษัท ไม่ควร จะ สูญเสีย ความเชี่ยวชาญ ลึก ๆ  ที่ พนักงาน นาน ใช้เวลาเป็น ทศวรรษ ในการบ่ม เพาะ/สั่งสมประสบการณ์ขึ้นมา แต่ความรู้เหล่านั้นมักจะสูญสลายหายไป เมื่อพนักงานคนนั้นออกจากงานดังกล่าว ดังนั้น ก่อน ที่เหตุการณ์แบบนี้จะ เกิดขึ้น ต้องมีการวางระบบที่ช่วยในเรื่อง การแบ่งปันความรู้/การถ่ายทอด ความเชี่ยวชาญ ตัว อย่าง   ใน บาง องค์กร    พนักงานจะ ไม่ได้ เลื่อนชั้นเลื่อนตำแหน่ง จนกว่าจะได้ทำหน้าที่เป็น พี่เลี้ยงประคบประหงมคนจนประสบผลสำเร็จ หรือในที่บางแห่ง   ค่าตอบแทน จะ ขึ้นกับ ผลงานของทีมทุกคน   ดังนั้น  พนักงาน ที่ มีประสบการณ์จะ ช่วยเหลือ และ ถ่ายโอน ความเชี่ยวชาญต่าง ๆ ให้กับ ทีมงาน กลยุทธ์ เหล่านี้สร้างการ แบ่งปันความรู้ และปฎิสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน จนกลายเป็นวัฒนธรรมภายในองค์การ แต่ ปัญหา ใหญ่ที่อาจจะ เกิดขึ้นได้ ถ้า คนไม่ มี ความสุข กับงาน/ บริษัท พวกเขาพร้อมจะลาออกจากงาน และมีแรงจูงใจน้อยมากที่จะแบ่งปันความรู้ ผู้จัดการที่ดี ต้อง ยอมรับผล การ ทำงาน ที่ ดี และเพื่อ ป้องกัน ความไม่พอใจในเรื่อง นี้   ด้วยกิจกรรมเล็ก ๆ แต่ประทับใจ    เช่น ให้คำวิจารณ์เชิงบว