ส่งเสริมยอมรับความเสี่ยง

ช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา
ระบบเศรษฐกิจได้บีบบังคับให้บริษัทจำนวนมาก
ต้องบริหารจัดการความปลอดภัย
แต่ต้องยอมรับความเสี่ยงบ้างเพียงเล็กน้อย  ถ้าหากเกิดขึ้นมา
หรือยอมรับความเสี่ยงอย่างมากได
ถ้าหากบริษัทมีวัฒนธรรมองค์กรเป็นเช่นนั้น
หรือทำอย่างที่เคยเป็นมาในอดีต 

หรือความไม่ชอบความเสี่ยงเลย
ให้ลองทำสามสิ่งต่อไปนี้
ด้วยการเปิดใจทำไปให้รอบกับทุกหน่วยงาน.-

1 การประเมินความเสี่ยง
 

มองอย่างตรงไปตรงมาที่บริษัทหรือหน่วยงาน
แล้วประเมินลูกน้องว่า ทำไมจึงหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
ใช้การสัมภาษณ์ให้เป็นประโยชน์
จัดการประชุมข้ามข้ามสายงาน
หรือทำแบบสำรวจโดยไม่ต้องระบุชื่อคนตอบ
เพื่อลดความหวาดวิตก
หรือการไม่กล้าแสดงความคิดเห็น


2 ทำให้เกิดการแบ่งปันความคิดเรื่องความปลอดภัยร่วมกัน
สร้าง "พื้นที่นิรภัย" ที่ผู้จัดการและบรรดาพนักงาน
กล้าแสดงความคิดเห็นติชมวิพากษ์วิจารณ์อย่างอิสระ
หรือแสดงความคิดโดยไม่ต้องหวาดกลัวว่า
จะมีโทษในภายหลัง
ในการเข้ามาใช้บริการพื้นที่นี้

3 การทดสอบ
ขอให้ทีมงานเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท
ที่ต้องการให้เติบโตไปด้วยกัน 

ดำเนินการทดสอบอย่างรวดเร็ว
เพื่อทดสอบวิธีการทำงานแบบใหม่ 

ทำให้ชัดเจนและทำให้ยอมรับกันว่า
ตราบใดที่ความล้มเหลวเกิดขึ้น 

การเรียนรู้จะตามมาภายหลังเอง
(เรียนรู้จากข้อผิดพลาด)

เรียบเรียงจาก Harvard Business Review

Tip of the Day, Feburary 23,2011
3 Ways to Encourage Risk-Taking

Over the past few years, the economy has forced many companies to play it safe and take few, if any, risks. If your company culture has become — or always has been — risk-averse, try doing the following three things to turn it around:
  1. Evaluate risk-taking. Take an honest look at your company or unit and assess whether people avoid risks. Utilize interviews, skip-level meetings, or anonymous surveys to gauge whether people feel anxious or hold back ideas.
  2. Make idea-sharing safe. Create a "safe space" where managers and employees can voice their concerns, feedback, and ideas — without fear of retribution.
  3. Experiment. Ask a team in a part of the company you want to grow to conduct a series of rapid-cycle experiments to test new ways of working. Make it explicit that failure is acceptable as long as learning comes from it.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด