สร้างนวัตกรรมด้วยสามประโยค

ลองบอกกับผมพูดซิ ?
วิธีพวกเราอาจจะ ?
สองประโยคนี้เป็นประโยคประจำวัน

ที่บริษัทประสบความสำเร็จส่วนใหญ่
ใช้คำพูดแบบนี้กับพนักงานทุกคน
เมื่อต้องการที่จะแก้ไขปัญหา 
ความท้าทายอย่างสร้างสรรค์
วิธีการที่เราอาจปรับปรุงกระบวนการ X... 

หรือจินตนการถึงการทำให้ Y....สมบูรณ์ขี้นใหม่
หรือหาวิธีการใหม่ที่จะบรรลุผลถึง Z.....น่าจะได้หรือไม่ ?
 

วิธีการที่จะสร้างสรรค์นวัตกรรม
เพื่อให้แน่ใจว่า
กำลังถามคำถามที่เหมาะสม

และมีการบังคับการขับเคลื่อนที่ชัดเจนกับคำถามที่ชัดเจน
มากกว่าการตั้งคำถามที่ว่า " พวกเราจะทำอย่างไร ? "

หรือ " วิธีการที่พวกเราควรจะทำ ?"
เป็นการบ่งบอกถึงการตัดสินใจแทน 

"
พวกเราอาจจะใช้วิธีการอะไรได้บ้าง ? "
ช่วยทำให้ผู้ฟังคิดว่ามีทางเลือกอย่างอิสระมากขึ้น

และเปิดกว้างมากขึ้นถึง "วิธีการ" 
การอนุมานทางแก้ไขออกมา
ถ้อยคำนี้ให้ความเชื่อมั่นสร้างสรรค์
เพราะคำว่า "อาจจะ "
หมายถึงว่ามันเป็นไปได้ตกลงเลยว่า
 

การนำความคิดใด ๆ ออกมานำเสนอ 
มันอาจจะทำงาน/ใช้งานได้
หรือมันอาจจะไม่ทำงานหรือใช้การไม่ได้
และคำว่า "พวกเรา" เป็นการส่งสัญญาณว่า 

พวกเราทุกคนจะต้องทำงานร่วมกัน
ช่วยกันสร้างสรรค์เติมแต่งปรับปรุง
ความคิดของเพื่อนร่วมงานคนอื่น ๆ
ไม่ว่าอย่างใดอย่างหนึ่งได้เช่นกัน


เรียบเรียงจาก Harvard Business Review,
Management Tip of the Day, DECEMBER 25, 2012
Spark Innovation with These 3 Words
Say it with me: How might we? This is the phrase that today's most successful companies use when they want to tackle challenges creatively. How might we improve X ... or completely re-imagine Y... or find a new way to accomplish Z? This approach to innovation ensures that you're asking the right questions, and steering clear of more limiting inquiries like "How can we?" or "How should we?" which imply judgment. Instead, "How might we" helps people think of options more freely and opens up possibilities. The "how" assumes there are solutions out there — it provides creative confidence. "Might" implies that it's OK to put any idea out there — it might work and it might not. And the "we" signals that you are all going to work together and build on one another's ideas. 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด