หยุดทำร้ายความคิดดีดี

มันเป็นเรื่องง่ายที่จะออกอาการมากกว่าปกติ 
เมื่อมีความคิดที่ดีเยี่ยมกว่าเพื่อนร่วมงานคนอื่น ๆ
แต่ท่ามกลางความกระตือรือร้น 

อาจทำเรื่องต่าง ๆ ให้ต้องหยุดชะงักได้
หากคนอื่น ๆ ไม่เท่าทันกับความคิดนี้
หรือพร้อมที่จะสนับสนุนความคิดนี้

อย่าปล่อยให้การแสดงอาการไม่สุภาพ
ของเพื่อนร่วมงานเหล่านี้ทำร้ายจิตใจตนเอง
หรือเป็นสาเหตุทำให้ตนเองต้องเจ็บช้ำน้ำใจ
หรือเจ็บปวดร้าวใจไปกับเรื่องดังกล่าวนี้
พยายามที่จะหลีกเลี่ยงสองเรื่องราวเหล่านี้
เมื่อนำเสนอความคิดที่แปลกใหม่
ให้กลุ่มคนต่าง ๆ เพื่อให้รับฟังและเชื่อถือ


อย่าตีสีใส่ไข่
อย่าพยายามที่จะทำให้ผู้คนที่รับฟังแตกตื่น
ด้วยการสร้างภาพหรือการวาดสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุด 

ให้เล่าเป็นเรื่องราวธรรมดาและมีความสมดุลกับทางเลือกอื่น ๆ
 
เสนอความเห็นแม้ว่าจะไม่ได้อนุญาตให้พูด

ผู้คนมักจะทนรับไม่ได้กับการที่คนอื่นยืนกราน
พร้อมกับเหตุผลที่ว่าตนเองถูกต้อง

แต่ทว่าคนอื่นผิดไปทั้งหมด
ให้รอจนกว่าจะปรุงแต่งความคิด
จนกระทั่งมีน้ำหนักเพียงพอแล้ว
ให้พยายามจะเสนอแง่มุมในเชิงบวก

เพื่อชี้ชวน/ชี้นำกับพวกเขา
มากกว่าการตั้งป้อมเป็นศัตรูแปลกหน้าต่อกัน

   
เรียบเรียงจาก Harvard Business Review,
Management Tip of the Day,
DECEMBER 26, 2012
Don't Hurt Your Own Cause
It's easy to get overexcited when you have a good idea. But in your enthusiasm, you may balk if other people don't immediately support your thinking. Don't let your impatience hurt your cause. Try to avoid these two things when pitching your idea to a skeptical group:
Making it biased. Don't try to scare people into listening by painting the worst-case scenario. Be fair and balanced when presenting the various options.

Offering your uninvited opinion. People will tune you out if you launch into a tirade about why you're right. Wait until you're asked to weigh in and try to positively engage your audience, not alienate them.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด