เวลาสร้างสรรค์เท่ากับเวลาการทำงาน

มันเป็นเรื่องของหลักการที่ดีที่ว่าคนเราต้องการเวลายืดหยุ่น
ในการทำงานส่วนตัวที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์
ริษัทยักษ์ใหญ่ เช่น 3M  Google ได้ให้เวลาสำหรับนวัตกรรม
"วันหยุดหรือไม่ต้องทำงาน
" เพื่อให้เวลากับบรรดานักวิทยาศาสตร์และวิศวกร
แต่บางทีอาจจะเป็นไปได้ที่ หลายบริษัทต้องใช้ความพยายามมาก
ในการตัดสินใจในเรื่องระยะเวลาที่ยืดหยุ่นว่าควรจะมีเพียงใด
เพราะไ
ม่มั่นใจว่าลูกน้องจะใช้เวลาดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่

ควรใช้วิธีการที่มุ่งเน้นกับผลลัพธ์ให้มากขึ้น
คือการให้ลูกน้องทำงานร่วมกันในเรื่องความท้าทายที่ระบุไว้
ใช้กลุ่มอาสาสมัครร่วมกันทำงานโดยให้อยู่ห่างจากที่ทำงานสักสัปดาห์
เพื่อดูว่าบรรดาลูกน้องจะสามารถสร้างเรื่องราว
ความคืบหน้า
เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้

หรือ
ปีละครั้ง ขอให้ลูกน้องทุกคนหยุดการทำงานประจำวัน

หรือขอเวลาพิเศษไว้สำหรับช่วงหนึ่งสัปดาห์
เพื่อให้บรรดาลูกน้องจะได้มุ่งมั่นที่จะทำเรื่องใหม่ ๆ
หรือเรื่องที่อาจจะมีความเสี่ยงทางธุรกิจบ้าง
ชนิดของกิจกรรมเหล่านี้ต้องให้วันหยุดหรือไม่ต้องทำงาน
สำหรับลูกน้องทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมเหล่านี้
แ่ต่จะต้องมีขอบเขตของความเหตุมีผล
ในเรื่องการตรวจสอบ/เฝ้าระวังและความ
วินัยในการทำงานแบบนี้

 
เรียบเรียงจาก Harvard Business Review,
Management Tip of the Day,FEBRUARY 22, 2013
Balance Creative Free Time with Structure
It's a well-established principle that people need slack time to work through their ideas. Companies like 3M and Google have given innovation "time off" to their scientists and engineers. But perhaps your company struggles to justify that level of slack, or you aren't confident that your employees would use such time effectively. A more focused approach is to get people working together on a specified challenge. Take a group of volunteers away from the office for a week to see if they can make progress on a specific product. Or, once a year, ask everyone to put his or her normal routine work on hold for a week and commit to doing something new or a bit risky. These kinds of activities provide the necessary time out for employees, but with a reasonable degree of focus and discipline.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด