ประเมินผลงานคนห่างไกลอย่างเป็นธรรม

คนเรามีแนวโน้มที่จะเชื่อ
สิ่งที่เราสามารถมองเห็นจับต้องได้

มันจึงเป็นเรื่องยากที่จะประเมินผลงานพนักงาน
ที่ไม่ได้ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในที่ทำงาน
นี่คือ สามวิธีที่จะทำให้แน่ใจว่ากำลังให้ความเป็นธรรม
ในการประเมินผลงานคนทำงานที่ห่างไกลจากที่ทำงานคือ.-

อย่ามุ่งเน้นแต่เพียงผลงาน

ผู้จัดการที่แท้มักจะถูกหลอกล่อ
ด้วยการมองไปที่ผลงาน
เพราะมองไม่เห็นพฤติกรรมของพนักงาน  

มันเป็นเพียงแต่อาการของปัญหา
พนักงานที่ทำงานที่ห่างไกล
มักจะ
ทำสิ่งที่ง่ายที่สุด
ถูกต้องที่สุดหรือเร็วที่สุด
 

เชื่อมโยงกับพวกเขา
ในการทำงานโดยใช้การสื่อสารโทรคมนาคม
(ใช้เครือข่ายต่าง ๆ ในการติดต่อสื่อสารกับหน่วยงาน)
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการวัดทั้งสองด้าน

ด้านการประเมินผลประสิทธิภาพการทำงาน
กับพฤติกรรมการทำงานของพวกเขา

เปรียบเทียบหน่วยงานกับหน่วยงาน 
ใช้มาตรฐานแบบเดียวกันสำหรับ
พนักงานทุกคนที่ทำงานแบบเดียวกัน
ทั้งนี้ เพื่อลดความลำเอียงที่อาจจะมีขึ้น
กับผู้คนที่มีเวลาอย่างมาก/เหลือเฟือ
ที่มักจะพบปะกับใบหน้าของท่าน

อย่าทำงานแบบใช้การสื่อสารโทรคมนาคม
เพียงเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ โ
ดยไม่ได้ตั้งใจ 

หรือเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่งงานพนักงานคนอื่น ๆ
เพียงเพราะว่าพวกเขาทำงานห่างไกล
อยู่นอกสายตาหรืออยู่นอกเหนือใจที่รับรู้

เรียบเรียงจาก Harvard Business Review,
Management Tip of the Day, APRIL 4, 2013
Evaluate Remote Workers Fairly
We tend to trust what we can see, which makes it difficult to evaluate employees who don't spend time in the office. Here are three ways to make sure you're being fair in your assessment of remote workers:
Don't focus solely on results. Virtual managers are often tempted to look at outcomes because employee behavior is not as visible. But that's just asking for trouble: Remote workers could easily be tempted to cut corners.
Engage them. Ask telecommuters to suggest performance metrics that assess both their results and behavior.
Compare apples to apples. Use the same standards for all employees doing the same job to minimize any favoritism toward those who have greater face time with you. Don't inadvertently slight telecommuters for raises or promotions because they're "out of sight, out of mind."
 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด