มุ่งมั่นกับความเสี่ยงที่คุ้มค่า

ถ้าต้องการจะส่งเสริมให้คนทำงาน
ยอมรับกับภาวะความเสี่ยงที่คุ้มค่าคุ้มราคา
ต้องทำให้พวกเขาแน่ใจว่า

ไม่เกรงกลัวกับเรื่องราวที่อาจจะล้มเหลวหรือไม่
ขั้นตอนแรกที่ต้องทำคือ 
ให้ยอมรับความล้มเหลวที่เกิดขึ้น
ให้ถือว่าเป็นเรื่องที่คุ้มค่ากับการเรียนรู้
ทำให้รับรู้ว่าโครงการที่ผ่านการไตร่ตรอง

กับครุ่นคิดและมีการวางแผนไว้เป็นอย่างดีแล้ว
ต้องพบกับข้อขัดข้องหรือมีเหตุผลบางอย่าง

ในเรื่องอะไรบ้างที่ทำให้ต้องล้มเหลว

เรื่องแบบนี้ทำให้ดูเหมือนว่าเป็นเรื่องทั่วไป
เปิดโอกาสที่ทุกคนในองค์กร
ได้รับรู้กับเรื่องที่ประสบความสำเร็จที่ควรจะเป็น
เพราะมีคนจำนวนน้อยมากที่รับรู้เกี่ยวกับ
เรื่องราวความล้มเหลวที่คุ้มค่าคุ้มราคา
ให้ระบุวิธีการและแนวทางหรือกระบวนการ
ที่จะยอมรับความเสี่ยงที่คุ้มค่าคุ้มราคา
พร้อมกับยกตัวอย่างที่ชัดเจน
เปรียบเทียบกับความล้มเหลวที่ไม่เข้าท่าเข้าทาง
พร้อมกับการอภิปรายถึงเหตุผลที่
ความล้มเหลวที่เกิดขึ้นมาแตกต่างกันออกไปเพราะอะไร
แยกแยะชี้ให้เห็นชัดเจนว่าความเสี่ยงที่คุ้มค่าคุ้มราคาเป็นเรื่องปกติและเรื่องที่ดี
เรื่องราวเหล่านี้จะทำให้คนในองค์กรเรียนรู้ถึง
การจัดการโครงสร้างองค์กรภายใน

เพื่อจะได้เริ่มต้นทดลองบริหารจัดการเรื่องแบบนี้ได้
หากไม่ได้กำหนดเรื่องเหล่านี้ให้ชัดเจนแต่แรก
ความล้มเหลวทั้งหมดจะกลายเป็นเรื่องของความเสี่ยง
และรูปแบบการทำตามความคิดที่ไร้ทิศทาง
จะกลายเป็นเรื่องการทำลายความคิดสร้างสรรค์
  
เรียบเรียงจาก Harvard Business Review,
Management Tip of the Day, APRIL 17, 2013
Aim for Smart Failure
If you want to encourage people to take healthy risks, you need to make sure they're not afraid to fail. The first step in doing that is defining what a smart failure — a thoughtful and well-planned project that for some reason didn't work — looks like. Chances are that everyone in your organization knows what success is. Far fewer know what a smart failure is. Specify what guidelines, approaches, or processes characterize smart risk taking. Provide clear examples of both smart failures and dumb failures and discuss why they're different. Point out what the smart ones have in common, so people know how to structure their experiments. If you don't define it, all failure looks risky and that kind of mindset will kill creativity.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด