พูดคุยกันได้แม้ขัดแยังกัน

แน่นอนมันเป็นเรื่องที่รู้สึกดีอย่างมากที่ชนะการโต้เถียง
แต่ในวิวาทะทุกครั้งก็จะมีผู้แพ้ทุกครั้งไปเช่นกัน
ส่วนผู้แพ้จะกลับไปด้วยความรู้สึกที่ท้อแท้และปล่อยวาง
แทนที่จะโต้เถียงกันอย่างเอาเป็นเอาตายลองทำด้วย

วางกฎการพูดคุย
หากกำลังมุ่งหน้าไปสู่วาระ​​การประชุม
ที่อาจทำให้หุนหันพลันแล่น
สรุปภาพรวมในเรื่องผลผลิต
ที่ต้องมีการพูดคุยในเรื่องเหล่านี้
ยกตัวอย่างเช่น
ให้แน่ใจว่าทุกคนมีเวลาเพียงพอ
ที่จะอภิปรายความคิดโดยไม่ถูกขัดจังหวะ

ฟังด้วยความเห็นอกเห็นใจ
ตั้งอกตั้งใจฟังให้มากขึ้นพูดให้น้อยลง
จะทำให้เรียนรู้มากขึ้นเกี่ยวกับทัศนคติและมุมมองคนอื่น ๆ
จะรู้สึกว่ามีความเห็นอกเห็นใจผู้คนมากขึ้น

วางแผนที่จะพูด
ในสถานการณ์ที่รู้ว่ามีคนใดคนหนึ่ง
ที่มีแนวโน้มจะครอบงำคนอื่น(อาจเป็นตัวคุณเอง)
ให้แน่ใจว่าทุกคนมีความสามารถที่จะพูดได้
ให้ระบุว่าใครที่อยู่ในที่ประชุมที่มี
ข้อมูลที่สำคัญหรือมุมมองที่จะแบ่งปันกัน
ให้มีรายชื่ออยู่ในภาพพลิก(flip chart)
และใช้เป็นวาระการประชุม

เรียบเรียงจาก Harvard Business Review,
Management Tip of the Day,MAY 29, 2013
Choose Connection Over Conflict
It feels good to win an argument. But in every fight there's a loser too, and your counterpart may leave the discussion feeling discouraged and disengaged. Instead of combating, try connecting:
Set rules of engagement. If you're heading into a meeting that could get testy, outline rules to make it a productive, inclusive conversation. For example, make sure everyone has enough time to explain ideas without being interrupted.
Listen with empathy. Make a conscious effort to speak less and listen more. The more you learn about other peoples' perspectives, the more empathy you'll feel.
Plan who speaks. In situations when you know one person is likely to dominate (that may be you!), make sure everyone is able to speak. Identify who in the room has important information or perspectives to share. List them on a flip chart and use that as your agenda.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด