หยุดคิดแบบเดิม

การคิดแบบแหวกแนว/แหกคอก
จะต้องท้าทายความเชื่อดั้งเดิม
ที่มีอยู่อย่างยาวนานของคนภายในบริษัท
ที่ยังยึิดติดยึดมั่นในการทำธุรกิจ
นี่คือวิธีการที่จะทำลายสภาวะเดิมเสีย

ขจัดข้อกำหนดข้อจำกัด
เรื่องนี้อาจดูเหมือนเป็นการตอบโต้ตามสัญชาติญาณ
แต่้การทำแบบนี้อาจจุดประกายความคิดสร้างสรรค์
โดยบังคับให้ใช้ข้อจำกัดในแบบจำลอง
ตัวอย่างเช่น  ให้มุ่งเน้นเฉพาะลูกค้าที่มีอยู่  
บังคับให้มีการเจาะลึกคิดลึกมากขึ้น
เพื่อค้นพบวิธีแก้ไขปัญหาที่สร้างสรรค์มากขึ้น

เปรียบเทียบองค์กรกับองค์กรอื่น

ดูวิธีการปฏิบัิิติที่ดีที่สุดของบริษัท 
เปรียบเทียบกัยวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดของบริษัทอื่น
ดยเฉพาบริษัทที่อยู่นอกแวดวงอุตสาหกรรม
เรื่องแบบนี้ไม่เกี่ยวกับการลอกเลียนแบบองค์กรอื่น
แต่เป็นเรื่องของการกระตุ้นให้เกิดความคิดใหม่ ๆ
จุดประกายไฟการสร้างสรรค์มากกว่าเป็นอย่างอื่น
 

มองหาโอกาสนอกลู่นอกทาง
คนเราไม่สามารถกักเก็บความคิดสร้างสรรค์
เกี่ยวกับสินค้าหรือบริการของตนเอง

แต่ให้ลองพิจารณาทุกจุดสัมผัส(ติดต่อ)
ระหว่างภายในบริษัทกับลูกค้า 
เพื่อปรับปรุงวิธีการที่ทำให้ลูกค้า
มีปฏิสัมพันธ์กับองค์กรมากขึ้น

เรียบเรียงจาก Harvard Business Review,

Management Tip of the Day, August 26, 2013
Stop Thinking Like You Always HaveTo surface groundbreaking ideas, you need to challenge the long-held beliefs the people at your company hold about doing business. Here’s how to kill the status quo:
Impose artificial limitations. It may seem counterintuitive, but this can spark creativity. By enforcing mock constraints – for example, focusing exclusively on existing customers – you are forced to dig deeper to uncover more inventive solutions.
Compare your organization to others. See how your company’s best practices stack up against others, especially those outside your industry. This is not about emulating others; it's about stimulating new ideas that might not come to light otherwise.
Look for unorthodox opportunities. Don't confine your creative thinking to products or services. Instead, consider every touch point between you and your customers to improve how they interact with your organization.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด