มากกว่าผลประโยชน์ฉันท์มิตรของครอบครัว

ความเป็นผู้นำต้องสามารถบริหารจัดการให้สมดุล
ระหว่างเรื่องภายในครอบครัวกับชีวิตการทำงาน

นี้เป็นหนึ่งในเหตุผลที่ว่า ทำไมองค์กรจำนวนมาก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งมักจะมีทัศนคติต้องการประเภท  All-In
(ทำทุกอย่างได้สมดุลทั้งหมด)  
จึงมีวิธีการยุ่งยากในการสรรหาผู้หญิงมาทำงานด้วย
 
วิธีการหนึ่งที่หลายองค์กรพยายามจะทำ
(แต่แล้วมักจะล้มเหลว) 
โดยปิดช่องว่างระหว่างเพศด้วยการนำเสนอ 
ผลประโยชน์อื่น ๆ ที่เหมาะกับครอบครัวมากขึ้น
เช่น Stanford School of Medicine 
ได้เสนอ(ไม่จ่ายค่าจ้าง) คงตำแหน่งงานไว้ให้หนึ่งปี
ผลประโยชน์ในการดูแลเด็ก
การดูแลเด็กที่บ้าน/ทีโรงพยาบาล  

ตามแต่การเรียกชื่อเรื่องนี้  
เสียงตอบรับดีหรือไม่

แต่ผลคือ สตรีหลายคนไม่สนใจ
หรือใช้ผลประโยชน์เหล่านั้น ทำไม? 
เพราะผลประโยชน์ที่ยืดหยุ่นเหล่านี้ 
ไม่สอดคล้องหรือตรงกับบรรทัดฐาน
การทำงานภายในองค์การที่จะประสบความสำเร็จ

แต่เมื่อมีการเปลีี่ยนแปลงโดยพยายามทำอย่างเต็มที่

โดยการบูรณาการผลประโยชน์เหล่านี้
รวมเข้าเป็นกระบวนการก้าวหน้าทางวิชาการ
การเปลี่ยนแปลงเริ่มดีขึ้นมาก

การเปลี่ยนแปลงภายในวัฒนธรรม
สิ่งที่ได้เรียนรู้ คือ  ความจำเป็นต้องมาก่อนเสมอ

เรียบเรียงจาก
The Daily Idea from Harvard Business Review, August 23, 2013
It Takes More than Family-Friendly Benefits to Attract Female LeadersLeadership can take a toll on one's work-family balance. This is one reason why a lot of organizations, especially those that require an "all-in" attitude, have a tough time recruiting women. One way many organizations try (and often fail) to close the gender gap is by offering more family-friendly benefits. Take the Stanford School of Medicine. They offer (unpaid) leave for up to a year after a child's birth, grants for childcare, onsite childcare, you name it. Sounds great, right? Yet many women didn't use those benefits. Why? Flexible benefits didn't jibe with the school's norms of success. But when the school made efforts to fully integrate these benefits into the faculty advancement process, things changed for the better. A change in culture, they learned, must always come first.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด