การกำกับดูแลภาครัฐยังไม่ตาย

การทำงานร่วมกันทั่วทั้งสามภาคหลักในสหรัฐ 
รัฐบาล ธุรกิจ องค์กรที่ไม่แสวงหากำไร
เป็นเรื่องที่หายากและทำได้ลำบาก 
แต่ผู้นำบางคนหรือที่เรียกว่า "นักกีฬาไตรกีฑา"
สามารถสร้างสะพานเชื่อมช่องว่างระหว่างกัน

และต้องขอบคุณสำหรับประสบการณ์พวกเขาที่เปี่ยมล้น
Michael Bloomberg  ผู้ว่าการมหานครนิวยอร์ก
ได้ใช้ความพยายามในการบรรเทาปัญหา
จราจรแออัดของมหานครมานานแล้ว 
หลังจากพิจารณาปัญหาการจราจรหนาแน่นที่อื่น ๆ 
เช่น ลอนดอน ปารีส 

Bloomberg กับ
ทีมงานได้ตัดสินใจ

ลงมือสร้างทางจักรยานให้มากขึ้น
และด้วยความช่วยเหลือของ Citibank 
พวกเขายังสร้างสถานีจักรยานรอบเมืองที่อยู่อาศัย
นักท่องเที่ยว และ ผู้มาแวะเวียน สามารถเช่าจักรยานได้
แม้ว่ามันจะไม่ได้แ้ก้ไขปัญหาจราจรแออัดได้ทั้งหมด
  
แต่แน่นอน ประชาชนต่างยอมรับกับแนวคิดดังกล่าวนี้
เพราะสามารถใช้จักรยานได้อย่างง่าย ๆ 

และจะทำให้การจราจรแออัดน้อยลงในอนาคต
การกำกับดูแลภาครัฐและการทำงานร่วมกัน 
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทุกวันนี้และต่อ ๆ ไป
อาจจะดูเหมือนว่าเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้
แต่สำหรับมหานครนิวยอร์คได้แสดงผลงาน
ให้เห็นได้เด่นชัดว่าสามารถทำงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี

เรียบเรียงจาก

The Daily Idea from Harvard Business Review,  August 20, 2013
Collaborative Governance Isn't Dead
Collaboration across the three main sectors in the U.S. — government, business, nonprofit — is rare. But some leaders, so-called "tri-sector athletes," can bridge the gap and get it done thanks to their breadth of experience. Take Michael Bloomberg, the mayor of New York City, and his efforts to alleviate his city's traffic congestion problem. Following the lead of other traffic-dense cities such as London and Paris, Bloomberg and his team decided to create more bike lanes, and with the help of Citibank, they also built bike stations around the city where residents, tourists, and visitors can rent a bike. It won't entirely solve the congestion problem, of course, but as the public continues to come around to the idea, easy access to bikes should make for less traffic in the future. Collaborative governance, especially in this day and age, may seem impossible, but as NYC has shown, it can work.
 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด