แนวคิดร่วมยุคต้องระมัดระวัง(ดองเค็มไว้ก่อน)

ไม่มีปัญหาเรื่องการขาดแคลนกูีรู(ผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญ)
ในด้านการบริหารจัดการในทุกวันนี้เลย

ลองอ่านเรื่องราวธุรกิจที่ร้านหนังสือตามสนามบิน
แน่นอนว่าจะพบเห็นหนังสือเป็นตั้ง ๆ วางกองอยู่

ที่ให้คำมั่นสัญญาว่า จะเปิดโลกทัศน์/ความคิดที่ยิ่งใหญ่
สูตรตายตัว/สูตรการเขียนของเหล่าผู้เขียนเป็นปกติเหมือนเดิม
เสนอแนวความคิดโดยมีชื่อปลอม รวมถึงกรณีศึกษาบริษัท
ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าบริษัทรอบข้างหรือทั่ว ๆ ไป


ย้อนกลับขึ้นไป  ถ้าศึกษางานเขียนของพวกเขาเหล่านั้น
จะ
มีข้อมูล วัตถุประสงค์ และจากนั้นเผยให้เห็นลักษณะทั่วไป 

ที่ทำให้เป็นบริษัทที่ดี  ดังนั้น
ปัญหาและการวิจัยทางวิชาการ
ที่สนับสนุนข้อเรียกร้อง/เรื่องราวต่าง ๆ นี้
ความคิดเหล่านี้มักจะไม่ระบุหรือเปิดเผยชัดเจน

ในช่วงเริ่มต้นที่อ่านหนังสือประเภทนี้
มีแนวโน้มอย่างมากเกี่ยวกับเรื่องผลประโยชน์ที่เกินจริง
เช่น  "แนวปฏิบัติที่ดีที่สุด" และบางส่วนที่เขียน/บอกเล่า

เรื่องราวแบบนี้สามารถเป็นอันตราย 
ในระยะยาวได้เป็นอย่างมาก
กับความพยายามที่จะสร้างนวัตกรรม  

ดังนั้นจงระวังเสียงไซเรนโหยหวน
เกี่ยวกับเรื่องราว/แฟชั่นการบริหารจัดการ
ที่อาจจะฟังดูหวานหู รื่นรมณ์ น่าจะเป็นไปได้
แต่เสียงไซเรนดังกล่าวสามารถจมรือให้อับปางได้
(นิยายกรีก นางไซเรนร้องจนคนเรือตายหมด)


เรียบเรียงจาก

The Daily Idea from Harvard Business Review, August 29, 2013
"Trendy" Ideas Should Be Taken With a Grain of SaltThere's no shortage of management gurus nowadays. Peruse the business section at any airport bookstore, and you're sure to see a bunch of books that promise to have uncovered the NEXT BIG IDEA. The formula, no matter the author, is usually the same. Give the idea a catchy name, include case studies of companies that have outperformed their peers, back up those studies with "objective" data, and then reveal the common characteristics that make the companies so great. The problem — and academic research backs up this claim — is these ideas don't usually pan out. Early adopters tend to over-exaggerate the benefits of these "best practices," and some of them can even be harmful to long-term innovation efforts. So beware. The siren-song of management fads may sound sweet to the ear, but can also sing you to shipwreck.
 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด