ต้นทุนที่เสียโอกาส

ภายใต้ภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยอย่างช้า ๆ
หลาย ๆ บริษัทต่างหวนกลับไปใช้วิธีการแบบเดิม

คือใช้วิธีอนุรักษ์นิยมและระมัดระวังการก้าวต่อไปในอนาคต
เรื่องนี้มันเป็นเรื่องยากที่จะตำหนิบริษัท
หากธุรกิจไปได้ด้วยดี ทำไมต้องเร่งรณรงค์ด้วย ?
รอคอยจังหวะ และสงวนตัวให้ปลอดภัย
เรื่องแบบนี้ดูเหมือนว่าจะเป็นกลยุทธ์ที่ดีที่สุด 

แต่ถ้าภาวะเศรษฐกิจตกต่ำอย่างมากอย่างมีตัวบ่งชี้แน่ชัด
บริษัทจะรับความเสี่ยงมากขึ้นในช่วงเศรษฐกิจขาลง
จะสามารถเห็นผลลัพธ์ที่ดีกว่าในระยะยาว

Kellogg เป็นตัวอย่างที่ดี
มีการลงทุนเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในงบโฆษณา
ละยังยืนกรานที่จะทำการตลาดผลักดัน Rice Krispies
สื่อสารไปยังชาวบ้านอย่างมากในช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ

แต่ Post ซึ่งเป็นคู่แข่งหลักในเวลานั้น
กลับมุดหัวใช้วิธีการอื่น ๆ อีกมากมายแบบอนุรักษ์
ผลลัพธ์ย้อนกลับและต้องสูญเสียส่วนแบ่งการตลาดตามมา


ผลกลายเป็นว่า Kellog ทิ้งห่างแบบไม่ต้องหันกลับไปมอง Post
ที่เป็นคู่แข่งขันอีกเลยเพราะมีชัยชนะทางการตลาดแบบขาดลอย

เรียบเรียงจาก 
The Daily Idea from Harvard Business Review, September 19, 2013
There’s Always a Cost for ComplacencyAs the Great Recession slowly unwinds, a lot of companies are taking a conservative and cautious approach to the future. It’s hard to blame them. If business is going well, why push it? Wait it out, and play it safe — that seems to be the best strategy. But if the Great Depression is any indication, companies that take more risks during downturns can see better results in the long run. Kellogg, for example, doubled down on its advertising budget, and was adamant on pushing Rice Krispies to the masses during the Depression. But Post, its main competitor at the time, took a much more conservative approach: it scaled back, and lost market share as a result. Kellogg, on the other hand, has never looked back.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด