สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับลูกน้อง

เมื่อลูกน้องต้องการพูดคุยสอบถาม
แม้ว่าการสนทนาจะดูเหมือนเป็นเรื่องปกติทั่วไป
แต่ส่วนมากจะรู้สึกว่าเกร็ง ๆ หรือถูกคุกคามจากเจ้านาย
นี่คือสามเคล็ดลับในการสร้างความสัมพันธ์หยั่งลึกกับลูกน้อง
มีส่วนร่วมกับลูกน้องเมื่อใดที่มีเวลาว่าง

สังเกตปฏิสัมพันธ์เพื่อหาโอกาส
ที่จะได้รู้จักลูกน้องทุกคนได้มากขึ้น
สร้างนิสัยชอบถามลูกน้องในเรื่องทั่ว ๆ ไป
เรื่องงาน หรือการใช้ชีวิตส่วนตัวเมื่อเวลาพบปะ

จดจำรายละเอียดปลีกย่อย
คนเราสร้างความสัมพันธ์กันด้วยอารมณ์
อย่างนับครั้งไม่ถ้วน  บางเรื่องแม้ดูว่าจะเป็นเรื่องเล็กน้อย
เช่น ความสนใจ คำถาม - ท่าทาง หรือ หน้าตา ภาษากาย
ยิ่งสังเกตและจดจำได้มากขึ้นกับสัญญาณเหล่านี้
นอกจากนี้ยังอาจขอความคิดเห็นบางส่วนจาก
เพื่อนและครอบครัวเกี่ยวกับวิธีการฟังที่ดี
การตอบสนองทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องราวในสังคม

แสดงความชื่นชมสม่ำเสมอ 
ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า
อัตราส่วนเชิงบวกต่อการมีปฏิสัมพันธ์เชิงลบ
เป็น 05:01  ของความสัมพันธ์ที่ประสบความสำเร็จ
ไม่จำเป็นต้องชมเชยก่อนถึงห้าครั้ง
แล้วจึงจะทำการติชมหรือวิจารณ์
แต่มีสติรับรู้เรื่องของอัตราส่วน

เรียบเรียงจากHarvard Business Review
Management Tip of the Day, September 30, 2013
3 Tips to Build Better Relationships with Your Employees
When people feel connected to you, even difficult conversations feel less threating. Here are three tips to forge stronger bonds with your employees:
Relate whenever you can. View every interaction as an opportunity to get to know someone a little better. Make a habit of asking employees one question about their work or their personal lives each time you encounter them.
Take note of subtleties. People seek emotional connection through countless small “bids” for attention—questions, gestures, or looks. Take stock of how much you notice these cues . You might also solicit some feedback from friends and family on how well you listen and respond to social cues in general.
Regularly express appreciation. Research shows that the ratio of positive to negative interactions is 5:1 in a successful relationship. You don’t need to pay someone five compliments before offering criticism, but do be mindful of the ratio.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด