เอาชนะจุดบอดตนเอง

คนเราทุกคนมีจุดบอด หรือที่เรียกว่า  อคติการรับรู้
แต่วิธีการที่จะสามารถเอาชนะจุดอ่อน
ซึ่งโดยนิยาม  เราอาจจะไม่รู้ตัว ?
เริ่มต้นด้วยการตระหนักตนเองอย่างเต็มที่ว่า
ในฐานะที่มีภาวะผู้นำที่ดี/ที่ยิ่งใหญ่
และให้ทำตามขั้นตอนในการเปิดที่บังตา/จุดบอด
เพื่อตอบโต้ผลกระทบของอคติืที่พบมากที่สุด  ให้ใช้กลยุทธ์นี้

ยืนยันอคติเกี่ยวข้องกับแนวโน้มตนเอง
เมื่อคนเราได้รับข้อมูลใหม่   คนเรามักจะดำเนินการ
ในลักษณะที่เหมาะสมกับสถานะการณ์/ปัญหา
ตามเรื่องราวเดิมของเราที่มีประสบการณ์อยู่แล้ว
ถ้าเป็นไปได้ให้ใช้อารมณ์ที่ท้าท้ายเรื่องแบบนี้
และทดสอบสมมติฐานของตนเอง
หรือสนับสนุนแนวคิดมารที่จะออกมาช่วยแก้ไขปัญหา

อคติที่คิดว่าตนเองรู้ทุกอย่างแล้วในเรื่องที่จำได้
การตัดสินใจในคราวก่อนหน้านี้เรียบง่ายกว่าที่เป็นจริง
ทำให้ความสามารถของตนเองที่จะสรุปสาระประเด็นได้อย่างถูกต้อง
ตรวจสอบความจำของตนเองโดยการเลือกจาก
วารสารและบันทึกการประชุมในบางช่วงเวลา
เมื่อได้เขียนหลักฐานข้อเท็จจริง/ที่คาดการณ์ไว้
เป็นเรื่องยากที่จะเขียนอดีตที่ผ่านมาใหม่อีกครั้ง

เรียบเรียงจาก
Management Tip of the Day: 2 Tips for Overcoming Your Blind Spots
Harvard Business Review, November 21, 2013
We all have blind spots – otherwise known as cognitive biases – but how can we overcome weaknesses which, by definition, we’re unaware of? Start by recognizing that full self-awareness lies at the core of great leadership, and take steps to remove your blinders. To counter the effects of two of the most common biases, use these tactics:
Confirmation bias refers to our tendency, when receiving new information, to process it in a way that it fits our pre-existing narrative about a situation or problem. It’s possible to temper it by challenging and testing your own assumptions – or by enlisting a devil’s advocate to help out.
Hindsight bias causes you to “remember” that a previous decision was simpler than it actually was, impairing your ability to draw accurate conclusions. Check your selective memory by keeping a journal and recording minutes from meetings. When you have written proof, it’s harder to rewrite the past.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด