ความเรียบง่ายคือกุญแจในการบริหารคนและผลิตภัณฑ์

อุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่สร้างขึ้นได้สร้างผลิตภัณฑ์ที่น่าตื่นตาตื่นใจ
แต่หลักการหลายอย่างในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
มีความสัมพันธ์กับหลักการบริหารที่เหมาะสม/ชาญฉลาด
ผู้จัดการผลิตภัณฑ์ที่ประสบความสำเร็จรู้ดีว่า
ลูกค้าจะตอบสนองอย่างดีที่สุดสำหรับความเรียบง่าย
มีคุณสมบัติเหมาะสมมีแบบฉบับเฉพาะตามที่ต้องการ
มิฉะนั้นความสลับซับซ้อนจะคืบคลานเข้ามาในเมฆหมอกการนำเสนอ

ตัวอย่าง เช่น ระหว่าง ปี 1984 และ ปี 2003 Microsoft Word 
เพิ่มคุณสมบัติการใช้งาน 40 เป็นมากกว่า 1,500 แบบ
แต่ผู้ใช้ จำนวนมากหันไปหาทางเลือกที่ง่ายกว่า

ความเรียบง่ายยังเป็นคุณลักษณะของการจัดการที่ดี
พนักงานในองค์กรแบบแบนราบ
ทุกคนต่างมีอำนาจที่จะรวบรวมข้อมูลเชิงลึกและติดตามความคิด 
แต่พวกเขากำลังจมปลักอยู่กับทางเลือกที่มาหลายทาง
ทำอย่างไรจะจัดลำดับความสำคัญวันทำงานของพวกเขา
ควรจะไปเข้าร่วมการประชุมโดยเฉพาะหรือไม่
อีเมลฉบับไหนที่ควรจะอ่านหรือต้องอ่าน

การเป็นผู้จัดการระดับสูง คือ ความเรียบง่าย
วาดภาพภารกิจที่ชัดเจนสำหรับทีมงาน มีกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน
สร้างวิธีการที่ทำให้พนักงาน/ทีมงานเลิกการตัดสินใจแบบวันต่อวัน

Management Tip of the Day: Simplicity Is Key to Both Managing People and Building Products
Harvard Business Review,  December 06, 2013
The technology industry was built on amazing products, but many principles of product development correlate to smart management principles. Successful product managers know that customers respond best to simplicity, when the only features available are ones they want. Otherwise, complexity will creep in and cloud your offering. For example, between 1984 and 2003, Microsoft Word went from 40 features to more than 1,500—and many overwhelmed users turned to simpler alternatives. Simplicity is also a feature of great management. Employees in flat organizations are empowered to gather insights and pursue ideas, but they’re also overwhelmed by choices: how to prioritize their days, whether to go to a particular meeting, which emails to read. To be a superior manager, simplify. Draw a clear mission for your team, articulate group goals, and get out of the way to enable your people to make day-to-day decisions.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด