ความขัดแย้งแบบสร้างสรรค์

การหาสมดุลที่ถูกที่ควรระหว่างความจำเป็น
ในการจัดการความขัดแย้งกับสัญชาตญาณการหลีกเลี่ยง
เป็นเรื่องหนึ่งที่มีความท้าทายที่ยากที่สุด
ของผู้จัดการที่ต้องเผชิญหน้ากับเรื่องราวเหล่านี้
ในขณะที่ความขัดแย้งยาวนาน/ดื้อด้าน
สามารถสร้างบรรยากาศภายในองค์กร
เต็มไปด้วยพิษของความขัดแย้งพอ ๆ กับ การทำลายล้าง

ความคิดสร้างสรรค์และวิธีปฏิบัติที่ดีในหน่วยงาน
จะมีส่วนช่วยทำให้องค์กรก้าวหน้า
แต่เรื่องแบบนี้ - มักจะเกิดจากความขัดแย้งที่สร้างสรรค์
ให้ส่งเสริมให้เกิดความขัดแย้งที่สร้างสรรค์
ด้วยการเสริมความคิดที่ว่าทุกคนสามารถไม่เห็นด้วย
เกี่ยวกับความคิด กลยุทธ์ การปฏิบัติและกระบวนการ
แต่ยังต้องคงเคารพในเรื่องนี้ซึ่งกันและกัน
เรื่องราวเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องส่วนตัวแต่เป็นเรื่องธุรกิจ

แทนที่จะปล่อยให้โอกาสดี ๆ หลุดลอยไป
ให้กำหนดระยะเวลากับทีมงาน
สอบถามถึงเรื่องบรรทัดฐาน
และวิธีการเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ทำ
ถ้ามีคนผลักดันกลับ/ต่อต้าน
หรือยกคำถามที่น่าอึดอัดในที่ประชุม
ให้นำพวกเข้ากลับเข้าสู่วาระ/ประเด็นการประชุม
แทนที่จะยุติหรือยกเลิกการประชุม
ถ้าเป็นไปได้ให้ช่วงเวลาเหล่านั้น
ส่งเสริมให้ทุกคนรับฟังและทำแบบเดียวกัน

เรียบเรียงจาก
Management Tip of the Day: Embrace Constructive Conflict
Harvard Business Review, January 07, 2014
Finding the right balance between the need to deal with conflict and the instinct to avoid it is one of the toughest challenges that managers face. While unbridled conflict can create a toxic atmosphere, insufficient conflict can be just as damaging: creative ideas and better ways of getting things done – which help organizations advance – often stem from constructive conflict. Encourage constructive conflict by reinforcing the notion that people can disagree about ideas and strategies, practices and processes, but still respect and like each other – it’s not personal, it’s business. Rather than leaving it to chance, schedule time with your team to question norms and change the way things are done. If someone pushes back or raises an uncomfortable question in a meeting, back them up rather than shutting them down. If possible, make those moments teachable and encourage others to do the same.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด