การเพิ่มราคาด้วยการสื่อสารที่ดีลูกค้าจะไม่โวยวาย

การเพิ่มราคาเป็นปัญหาที่มีความละเอียดอ่อน
ไม่มีลูกค้าคนไหนสนุกกับการจ่ายเงินมากขึ้น
แต่ด้วยเศรษฐกิจที่แกว่งไปแกว่งมาในตอนนี้
ทำให้หลาย บริษัทกำลังใคร่ครวญในเรื่องนี้
มีผลต่อการทำให้ผู้จัดการกังวลอย่างมาก
แต่กลยุทธ์การสื่อสารข้อความที่เหมาะสม
จะช่วยให้ลูกค้ามีการโวยวายไม่มากนัก
ลูกค้าโวยวายน้อยลงและยอมรับราคาใหม่นี้
ตัวอย่างหน้าเว็ปเพจของ Amazon
ที่ขึ้นราคาสินค้าที่สำคัญเมื่อสองเดือนที่ผ่านมา

การเสนอขึ้นราคาในอัตราที่น่ากลัว
ในขั้นแรก Amazon ได้ใคร่ครวญ
ราคาระหว่าง $ 20 ถึง $ 40 ที่เพิ่มขึ้น
แต่แล้วประกาศขึ้นเพียง $ 20 เท่านั้น
ทำให้ลูกค้าถอนหายใจด้วยความโล่งอก

ขอความเป็นธรรม
เห็นได้ชัดว่า Amazon ได้ตั้งข้อสังเกตว่า
ราคาสินค้าที่สำคัญไม่มีการปรับเพิ่มขึ้นเลย
มาตั้งแต่ 9 ปีที่แล้วเลยเป็นเวลานานมากแล้ว
และดูเหมือนว่ายุติธรรมเพียงพอกับการขึ้นราคา

เสนอแนะเป็นนัย ๆ ว่าจะให้อะไรมากกว่านี้
มีคนพูดคุยกันมากเกี่ยวกับ Amazon
ที่ขึ้นราคาวิทยุเข้าไปในกลุ่มสินค้าที่สำคัญ
แต่การเพิ่มคุณสมบัติเพิ่มเติมเข้าไปด้วย
สามารถทำให้ลูกค้าเปิดใจกว้างยอมรับมากขึ้น
กับการบริหารจัดการกับราคาสินค้าใหม่


Management Tip of the Day: Raise Prices (and Minimize Backlash) with the Right Messaging


Harvard Business Review, June 02, 2014

Raising prices is a sensitive issue – no one enjoys paying more. But with the economy in an upswing, many companies are contemplating it, making managers rightfully anxious. However, the right messaging tactics can help tame a potential backlash. Just take a page from Amazon, which hiked up the price of Prime a couple months ago.
  • Float a scarier number. Amazon initially hinted it was contemplating a $20 to $40 increase. When it announced "only" a $20 boost, customers sighed with relief.
  • Appeal to fairness. Amazon clearly noted it that it had not raised Prime's price since its inception nine years ago. That's a long time. And it seems fair enough.
  • Hint that there's more to come. There has been a lot of talk about Amazon adding streaming radio to its Prime package. Additional features can make customers more receptive to a deal.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด