ค้นหาพนักงานรุ่นใหม่

ผู้จัดการหลายคนมักมีคนวงในจำนวนหนึ่ง
ประเภทที่นำมาร่วมงานเป็นการประจำ/ปกติ
เพราะเชื่อมือในเรื่องการจัดการโครงการหลัก
หรือโครงการที่ริเริ่มใหม่ต่าง ๆ

แต่การพึ่งพาอาศัยคนสำคัญเหล่านี้บ่อยเกินไป
มีผลทำให้งานพิเศษกระทบอย่างต่อเนื่องถึงงานประจำ
ทำให้พวกเขาต้องหลุดพ้นจากวงโคจรงานหลัก
และมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงาน

ลองคิดในมุมกลับและคิดเกี่ยวกับวิธีการขยาย
หาคนเก่งเข้ามาในวงในทำงานของคุณ
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่คุณต้องการในระยะยาว
และให้แน่ใจว่าไม่มีใครจะถูกรั้งตัวไว้มากเกินไป

กางแผนที่/โครงการที่กำลังทำอยู่
พิจารณารายชื่อ คณะกรรมการ 
กลุ่มงาน และกลุ่มงานพิเศษอื่น ๆ 
เพื่อดูว่ามีคอขวดที่น่าสงสัยว่าผิดปกติ
การที่มีรายชื่อคนเดียวกันซ้ำกันครั้งแล้วครั้งเล่า

ถึงเวลาแล้วที่จะจัดลำดับความสำคัญของงาน/โครงการ
รวมทีมงานเข้าด้วยกัน และที่สำคัญอย่างยิ่งคือ
การเพิ่มคนอื่นเข้าในทีมเพิ่มเติม
ให้คิดว่าพนักงานคนอื่น ๆ ยินดีร่วมงาน
หรือรับมอบหมายงาน/ภาระกิจใหม่ 

และยังมีคนใดบ้างที่มีศักยภาพสูง
แต่ยังไม่ได้ทำงานที่ท้าท้าย
คุณสามารถหาคนอื่นที่ไว้ใจได้
จากนอกวงในของคุณได้หรือไม่

The Management Tip of the Day from Harvard Business Review


September 10, 2014

Find New Go-To Employees

Many managers have a small circle of “usual suspects” that they trust to handle key projects or initiatives. But relying on these key people too often – and constantly piling special assignments onto their regular duties – can wear them out and make their performance suffer. Take a step back and think about how to expand your talent pool to get the results you want and ensure that no one is being stretched too thin. Map out your committees, task forces, and other special assignment groups to see if you have a “usual suspect” bottleneck. If the same names keep coming up again and again, it’s time to prioritize assignments, consolidate teams, and, most importantly, add other people to your list. Think of other employees who might welcome new assignments. Are there some high potentials who aren't being fully challenged? Can you find other people to trust outside of your circle? 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด