การสื่อสารที่ดีที่สำคัญกับทีมงามที่กระจายอยู่ทั่วโลก

ทีมงานที่ทำงานกระจายอยู่ทั่วโลกเริ่มเป็นเรื่องธรรมดาแล้ว
แต่เรื่องยากคือการให้คนทำงานในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
ทำงานกันอยู่บนเส้นทางเดียวกัน(เป้าหมายวัตถุประสงค์)ที่ต้องการ
คุณต้องมั่นใจว่าการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลต่าง ๆ
ทำได้
อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด นี่คือ แนวคิดบางอย่างที่ลองทำดูได้

ให้ความสำคัญกับอีเมล์
การส่งข้อความขึ้นอยู่กับว่าทุกคนอยู่ที่นั่นในเวลาเดียวกัน
ในทางกลับกัน 
อีเมล จะส่งข้อความแบบไม่ประสานเวลา
แต่จะแตกต่างเหมาะสมกับเวลาที่มีความแตกต่างกันตามโซนเวลา
และ
ช่วยให้ทีมงานอยู่ในช่วงระยะเวลาทำงานร่วมกันได้

ตั้งใจคิดในเรื่องเชิงบวก
เรื่องง่ายสำหรับบางเรื่องในการอ่าน

ที่ดูเหมือนเป็นเรื่องเชิงลบในอีเมล์ 
แต่เรื่องการประชดประชันและอารมณ์ขันในทางผิด 
แต่ความเป็นเพื่อนและเรื่องยินดีตอบรับ
แม้ว่ามันหมายความว่า 
มีการใช้สัญลักษณ์แทนรูปอารมณ์

ให้ข้อเสนอแนะไม่ใช่ข้อตำหนิ
" ผมรับมันไม่ได้ "  สามารถทำให้การสนทนาสิ้นสุดลงและเลิกราไปในที่สุด 
คนเราควรเสนอแนะทางเลือกแทนที่จะทำเพียงแต่
การร่วมมือกันแบ่งปันเรื่องราวที่ไม่ชอบในความคิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

The Management Tip of the Day from Harvard Business Review

January 19, 2015

Prioritize Good Communication on Your Global Team

Global virtual teams are becoming more common. And because it’s harder to keep people in different regions of the world on track, you need to make sure that people are communicating as effectively as possible. Here are some ideas to try:
  • Make email a priority. Instant messaging relies on everyone being there at the same time. Email, on the other hand, can be totally asynchronous as it fits time zone differences and keeps teams in rhythm together.
  • Be intentionally positive. It’s easy for things to sound negative in an email. Sarcasm and humor can come across the wrong way, but being friendly and approachable is always welcome…even if it means using emoticons.
  • Offer suggestions, not critiques. “I don’t get it” can steer the conversation into a dead end. People should always suggest an alternative instead of simply sharing their dislike for an idea.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด