ทำเรื่องราวธุรกิจให้เป็นเรื่องที่น่าสนใจ

เรื่องราวธุรกิจที่ประสบชัยชนะในเรื่องต้นทุน
จะบอกเล่าเรื่องราวที่น่าสนใจและน่าจดจำได้
เรื่องแบบนี้เป็นวิธีการที่ดีที่สุด
ในการจดจำเพื่อการตัดสินใจ
และทำให้ความคิดโลดแล่นโดดเด่น

ให้ลองคิดว่า เรื่องราวธุรกิจเหมือนนวนิยาย
มีการผจญภัยที่มีบริษัทเป็นตัวเอกของเรื่อง
บอกเล่าเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับบริษัท
ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
เรื่องความจำเป็นทางธุรกิจ
หรือการทำตามสถานะการณ์
เพื่อยึดกุมโอกาสตามจังหวะและเวลา

ลงมือเขียนเรื่องราวตามความคิด
สร้างเรื่องราวก่อนระบุกลยุทธ์
ความต้องการหรือโอกาสที่ต้องการ
วางแผนผังความคิดออกมา
เป็นรูปร่างเรื่องราวเชิงกลยุทธ์
ที่สนับสนุนวัตถุประสงค์/เป้าหมายองค์การ

เมื่อได้ทำการบ้านเสร็จแล้ว
จะสามารถเข้าใจเค้าโครง/วิธีการ
และอธิบายความสำคัญเรื่องนี้ได้
ในขั้นตอนสุดท้าย
ให้อธิบายถึงผลประโยชน์
ที่จะได้รับในเรื่องของต้นทุน
พยายามทำให้เห็นเป็นรูปตัวเงิน

หลีกเลี่ยงเป้าหมาย/ประโยคที่คลุมเครือ เช่น
"ลูกค้าพึงพอใจ " "ลดต้นทุน" หรือ " ลดพิเศษ "

ให้ระบุเฉพาะ:
" ลดการคืนสินค้า 10% จะประหยัดถึง $300,000 "



The Management Tip of the Day from Harvard Business Review

May 27, 2015

Turn Your Business Case into a Compelling Story

The business cases that win funding tell compelling and memorable stories. That’s the best way to capture decision makers’ imaginations and make your idea stand out. Think of your business case as a concise adventure novel, with your company as the protagonist. The narrative involves your company solving a business need or seizing an opportunity by acting on your idea. To build that story, first identify the strategic need or opportunity you want to address. Then map out how your idea supports that important strategic or organizational objective. Once you’ve done your homework, you can outline your project approach and explain how your idea will be implemented. Finally, describe the benefits your project will deliver if it’s funded. Avoid vague goals like “improve customer satisfaction,” “cut costs,” or “drive sales.” Get specific: “We’ll reduce product returns by 10%, saving $300,000.”

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด