คำถามเรื่องผลผลิต

หากคุณเป็นผู้นำทีมงานส่วนมากแล้ว
คุณอาจจะต้องการคำตอบมากกว่าเรื่องที่คุณถาม
และบางส่วนของคำถามเป็นในนาม(ทั่วไป)เท่านั้น
เมื่อคุณเกิดความอยากรู้อยากเห็นอย่างแท้จริง
สิ่งที่คุณจะเรียนรู้คือ  สิ่งที่คนอื่นกำลังคิด
แต่เมื่อคุณไม่ได้ถาม  หรือตั้งคำถามเชิงโวหาร
ก็จะไม่ได้รับคำตอบที่แท้จริงแต่อย่างใด
หรือการชี้ให้เห็นจุด/ประเด็นของปัญหา ตัวอย่างเช่น

" คุณไม่ได้คิดจริง ๆ หรือว่า วิธีการแก้ปัญหาแบบนี้จะเป็นไป  " 
การพูดแบบนี้อาจจะทำให้สมาชิกในทีม
รู้สึกว่าถูกดูถูก หรือเกิดการต่อต้าน/ป้องกันตนเอง
พวกเขาจะไว้วางใจคุณน้อยลง ถอนใจ/ถอนตัวออก
และระงับการให้ข้อมูลที่คุณต้องการเพื่อการตัดสินใจที่ดี

ถ้าคุณรู้คำตอบอยู่แล้วว่สำหรับคำถามของคุณ
หรือคุณอาจจะพูดง่ายในวลีที่ว่า " ไอ้โง่เอ้ย " 
เป็นคำสบถตอนท้ายของคำตอบ
มันเป็นเรื่องของการพูดแบบกันเองทั่วไป

หากเป็นกรณีดังกล่าวนี้
ให้เปลี่ยนคำถามเป็นถ้อยคำ/คำสั่งที่โปร่งใส
เสนอมุมมองของตนเอง รวมทั้งเหตุผล
และความรู้สึกของคุณเอง
แล้วเพิ่มคำถามที่แท้จริงของคุณ
จะช่วยให้คุณ เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสถานการณ์
และช่วยเพิ่มความอยากรู้อยากเห็นของทีมของคุณ 
ในการให้คำตอบต่าง ๆ เพิ่มเติม


เรียบเรียงจาก Harvard Business Review
Management Tip of the Day: How to Ask Productive Questions
October 29, 2013

If you’re like most team leaders, you probably make more statements than you ask questions – and some of your “questions” are in name only. When you are genuinely curious, you want to learn what others are thinking – but when you aren’t, you ask rhetorical questions; not for a real answer, but to make a point. For example: “You don’t really think that solution will work, do you?” This communication style leaves team members feeling insulted or defensive. They will trust you less, withdraw, and withhold information that you need to make good decisions. If you already know the answer to your question or you could easy tack on the phrase “you idiot” to the end of it, it’s rhetorical. If this is the case, change your inquiry to a transparent statement that shares your view, including your reasoning and feelings. Then add a genuine question that helps you learn more about the situation and helps increase your team’s curiosity in the answer.

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด