ตั้งข้อสงสัยล่วงหน้าเพื่อจูงใจผู้ฟัง

ถ้าคุณต้องการชักชวนผู้ชม
คุณจำเป็นต้องแสดงออกว่า 
คุณเป็นคนน่าเชื่อถือ 
ในสถานการณ์ที่คลุมเครือหรือขัดแย้ง 
หลายคนคิดว่าควรเก็บกวาดข้อสงสัยปลีกย่อย
หรือข้อความที่ไม่ชัดเจนไม่แน่นอนไว้ใต้พรม

แต่มีหลักฐานหลายเรื่องที่ชี้ให้เห็นว่า 
การรับรู้/ตอบสัญญาณข้อสงสัยเหล่านี้ทันที
ก่อนที่จะนำเสนอประเด็นต่าง ๆ
สามารถช่วยสร้างความน่าเชื่อถือได้จริง

กุญแจที่สำคัญคือ เรียงเรื่องราวเป็นลำดับ
เริ่มต้นด้วยเรื่องที่อ่อนแอเหยาะแหยะและข้อเสียเปรียบ

แล้วใช้คำว่า "แต่" ก่อนที่จะบอกข้อความหลักของคุณ 
เช่น หมอที่พูดว่า " ไม่มีวัคซีนประเภทไหนในโลกนี้
ที่ไม่มีผลกระทบ/ผลเสียกับผู้ใช้ในบางราย
แต่วัคซีนนี้ปลอดภัยมาก 
เพราะมีการใช้เพื่อปกป้องเด็กนับล้านคน "

คำพูดนี้เสริมสร้างความเชื่อมั่นและน่าเชื่อถือของเธอ 
ข้อความนี้จะแตกต่างมาก
หากเริ่มต้นด้วยเรื่องเด็กจำนวนมากที่เป็นประเด็นหลัก
แล้วตามด้วยผลกระทบ/ผลเสียที่ตามมา


The Management Tip of the Day from Harvard Business Review


April 24, 2015

Sharing Doubts Up Front Helps Persuade Others

If you want to persuade an audience, you need to show them that you’re trustworthy. In ambiguous or controversial situations, many people think it’s best to sweep small doubts or uncertainties about their message under the rug. But evidence suggests that signaling these doubts immediately before delivering your argument can actually help establish trust. The key is sequencing: Start with a small weakness or drawback, then use the word “but” before delivering your main message. A doctor who says, “No vaccine in the world is without the occasional adverse event, but this vaccine is extremely safe and has been used to protect millions of children,” strengthens her trustworthiness and credibility. This message would feel different if the weakness followed, rather than preceded, her main point. 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บ้านรังนกนางแอ่น(กินรัง)

เรื่องเล่าจากคนทำป้ายสุสานจีน

ขอโทษทันทีเมื่อส่งอีเมล์ผิดพลาด